ATMOSPHERE/บรรยากาศ

ATMOSPHERE
LIFE ON EARTH could not exist without Earths atmosphere. The atmosphere is a colourless, tasteless, odourless blanket of gases that surrounds the Earth. It gives us air to breathe and water to drink. As well as keeping us warm by retaining the Sun's heat, it also shields us from the Sun's harmful rays. The atmosphere is approximately 700 km (440 miles) deep, but it has no distinct boundary. As it extends into space, it becomes thinner, eventually fading out. Human activity is upsetting the atmosphere's natural balance, with damaging results.

บรรยากาศ
          ชีวิตบนโลกอาจจะดำรงอยู่ไม่ได้หากปราศจากบรรยากาศของโลก บรรยากาศคือชั้นของก๊าซที่ปราศจากสี ปราศจากรส ปราศจากกลิ่น ที่อยู่รอบ ๆ โลก ให้อากาศสำหรับหายใจและน้ำสำหรับดื่มแก่พวกเรา อีกทั้งรักษาความอบอุ่นให้กับพวกเราด้วยการป้องกันความร้อนจากดวงอาทิตย์ พร้อมทั้งป้องกันรังสีที่เป็นอันตรายจากดวงอาทิตย์ให้กับพวกเราด้วย ชั้นบรรยากาศอยู่สูงประมาณ 700 กิโลเมตร (440 ไมล์) แต่ไม่มีขอบเขตที่ชัดเจน เมื่อชั้นบรรยากาศขยายออกไปสู่อวกาศ ก็มีความเบาบาง ในที่สุดก็ค่อย ๆ หมดไป กิจกรรมของมนุษย์ก็กำลังทำให้เสียความสมดุลทางธรรมชาติ พร้อมทั้งทำให้เกิดผลเสียหาย

 Composition of the atmosphere
Earth's atmosphere is made mainly of two gases nitrogen and oxygen. It also contains small amounts of argon and carbon dioxide, with any traces of other gases. The oxygen is made primarily by green plants, which maintain the balance of gases.
 Composition of the atmosphere

ส่วนประกอบของบรรยากาศ
            บรรยากาศโลกเกิดจากก๊าซหลัก 2 ชนิด คือ ไนโตรเจนกับออกซิเจน ยังมีอาร์กอนและคาร์บอนไดออกไซด์อยู่จำนวนน้อย อีกทั้งยังมีร่องรอยของก๊าซอื่น ๆ บ้าง ออกซิเจนส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากพืชสีเขียวซึ่งรักษาความสมดุลของก๊าซ

Ozone layer
The thin layer of ozone gas within the stratosphere protects us by absorbing harmful ultraviolet rays from the Sun. But build-up of man-made gases called chlorofluorocarbons (CFCs) has depleted the ozone layer, and holes have started to appear in it every spring over the poles.

ชั้นโอโซน
            ชั้นเบาบางของก๊าซโอโซนภายในชั้นสตราโทสเฟียร์จะป้องกันพวกเราด้วยการดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลตที่เป็นอันตรายจากดวงอาทิตย์ แต่การพัฒนาก๊าซที่มนุษย์สร้างขึ้นที่เรียกว่า คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (chlorofluorocarbons = CFCs) ทำให้ชั้นโอโซนลดน้อยลงมากและเริ่มปรากฏเป็นช่องโหว่ในชั้นโอโซนเหนือขั้วโลกทุก ๆ ฤดูใบไม้ผลิ

Greenhouse effect
Carbon dioxide and other gases in the atmosphere act like glass in a greenhouse, trapping the Sun's heat. This "greenhouse effect" keeps the Earth warm. But human activity, such is burning forests and running cars, releases too much carbon dioxide into the air and may cause global warming.

Greenhouse effect


ปรากฏการณ์เรือนกระจก
            คาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซอื่น ๆ ในบรรยากาศ ทำหน้าที่คล้ายกระจกในเรือนกระจก ด้วยการกักความร้อนจากดวงอาทิตย์  “ปรากฏการณ์เรือนกระจก” นี้ ทำให้โลกร้อนขึ้น แต่กิจกรรมของมนุษย์ เช่น การเผาป่าและการขับขี่รถยนต์ จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมามากเกินไปในอากาศและเป็นสาเหตุทำให้โลกร้อนขึ้น
Greenhouse effect
Layers of the atmosphere
The atmosphere is divided into five different layers. The composition of gases varies within these layers, as does the temperature which drops in the troposphere, the lowest layer, and rises in the stratosphere above.
1.  Troposphere            2.  Stratosphere
3.  mesosphere  4. thermosphere  5. Exosphere


ชั้นของบรรยากาศ
            บรรยากาศแบ่งออกเป็นชั้นต่าง ๆ 5 ชั้น ส่วนประกอบของก๊าซมีความแตกต่างกันภายในชั้นเหล่านี้ ในขณะที่ความร้อนซึ่งกระจายไปในชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเป็นชั้นต่ำสุดและสะท้อนขึ้นไปในชั้นสตราโทสเฟียร์

1. โทรโพสเฟียร์               2. สตราโทสเฟียร์
3.  มีโซสเฟียร์   4. เทอร์โมสเฟียร์  5. เอกโซสเฟียร์

Layers of the atmosphere
1. Exosphere is the outer layer of the atmosphere. Here lighter gases drift into space.

เอกโซสเฟียร์คือชั้นที่อยู่รอบนอกของบรรยากาศ ณ ที่นี่ก๊าซที่เบากว่าจะลอยไปสู่อวกาศ

2. In the thermosphere, gases are very thin but they absorb ultraviolet light from the Sun, raising temperatures to 2,000°C (3,632°F). The ionosphere (layer within the thermosphere) is made of gases electrically charged or ionized by the Sun's light. Radio signals can be bounced off these ionized gases.

ในชั้นเทอร์โมสเฟียร์ ก๊าซจะเบาบางมาก แต่ก๊าซเหล่านั้นจะดูดซับแสงอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิจะขึ้นสูงถึง 2,000 องศาเซลเซียส (3,632 องศาฟาเรนไฮต์) ชั้นไอโอโนสเฟียร์ (เป็นชั้นที่อยู่ภายในเทอร์โมสเฟียร์) จะถูกแสงอาทิตย์ทำให้ก๊าซเป็นประจุไฟฟ้าและกลายเป็นอิออน สัญญาณวิทยุสามารถสะท้อนจากก๊าซที่เป็นอิออนเหล่านี้ได้

3. In the mesosphere, gases are so thin that temperatures drop rapidly with height to less than -110°C (-166°F), but the air is still thick enough to slow down meteorites.

ในชั้นมีโซสเฟียร์ ก๊าซเบาบางมากจนกระทั่งอุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วจากสูงถึงต่ำกว่า -110 องศาเซลเซียส (-116 องศาฟาเรนไฮต์) แต่อากาศยังหนาแน่นพอที่จะชะลอความเร็วของอุกกาบาตได้

4. Stratosphere contains 19 per cent of the atmospheres gases, but little water vapour. It is very calm so airliners fly up here.

ชั้นสตราโทสเฟียร์มีก๊าซชั้นบรรยากาศ 19 เปอร์เซ็นต์ แต่มีไอน้ำน้อย ชั้นนี้มีความสงบราบเรียบมากจนกระทั่งสายการบินบินขึ้นได้

5. Ozone layer shields the Earth from dangerous radiation.

ชั้นโอโซนป้องกันโลกจากรังสีที่มีอันตราย

6. Troposphere extend about 12 km (7.5 miles) above the ground and is the only layer in which living things can survive naturally. It contains 75 per cent of the atmosphere's gases, water vapour, and clouds. Changes here create the weather.

ชั้นโทรโพสเฟียร์แผ่กระจายออกไปประมาณ 12 กิโลเมตร (7.5 ไมล์) เหนือพื้นดินและเฉพาะชั้นนี้เท่านี้ที่มีสิ่งมีชีวิตสามารถดำรงอยู่ได้ตามธรรมชาติ มีก๊าซ ไอน้ำ และเมฆในบรรยากาศ 75 เปอร์เซ็นต์

7. Tropopause borders troposphere and stratosphere.

โทรโพพอสแบ่งขอบเขตชั้นโทรโพสเฟียร์และสตราโทสเฟียร์

8. Sonar balloon  ลูกบอลลูนตรวจสอบวัตถุด้วยคลื่นเสียงและรับเสียสะท้อน

9. Stratopause is the boundary between stratosphere and mesosphe

สตราโทพอสคือขอบเขตระหว่างชั้นสตราโทสเฟียร์และมีโซสเฟียร์

10. Aurora lights in the night sky, possibly caused by charged particles from the Sun striking atoms.

แสงเงินแสงทองในท้องฟ้าตอนกลางคืน อาจจะเกิดจากอนุภาคประจุไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์
Oxygen cycle
Gases continually circulate between the atmosphere and living things. Animals breathe in oxygen to help them release energy from food, and breathe out carbon dioxide. Green plants release oxygen back into the air and take in carbon dioxide as they absorb energy from the Sun. Oxygen is also used in the burning of fossil fuels.

Oxygen cycle

วัฏจักรของออกซิเจน
            ก๊าซหมุนเวียนอยู่ระหว่างบรรยากาศกับสิ่งมีชีวิตอย่างต่อเนื่อง สัตว์หายใจเอาออกซิเจนเพื่อช่วยเผาผลาญพลังงานจากอาหารและหายใจเอาคาร์บอนไดออกไซด์ออก พืชสีเขียวปล่อยออกซิเจนกลับไปสู่อากาศและรับเอาคาร์บอนไดออกไซด์เข้าในขณะที่ดูดซับพลังงานจากดวงอาทิตย์     อีกประการหนึ่ง ออกซิเจนก็ใช้ในการเผาไหม้เชื้อเพลิงจากซากพืชซากสัตว์ด้วย

James Glaisher
English meteorologist James Glaisher (1809-1903) was one of the many balloonists who, during the 19th century, took great risks when they ascended to extraordinary heights to discover more about the atmosphere. Glaisher went up almost 12 km (7.5 miles) into the troposphere without oxygen or protective clothing. Such research led to the discovery that air becomes cooler with altitude.



James Glaisher


เจมส์ กไลเชอร์
            เจมส์  กไลเชอร์ นักอุตุนิยมวิทยาชาวอังกฤษ (มีชีวิตอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1809 – 1903 = พ.ศ. 2352 – 2446  อายุ 94 ปี) เป็นบุคคลหนึ่งในบรรดานักเล่นบอลลูนจำนวนมาก ซึ่งในศตวรรษที่ 19 ได้เสี่ยงชีวิตครั้งยิ่งใหญ่ เมื่อพวกเขาลอยขึ้นไปสู่ที่สูงเกินปกติจนประสบผลสำเร็จเพื่อค้นหาบรรยากาศยิ่งขึ้น กไลเชอร์ขึ้นไปเกือบ 12 กิโลเมตร (7.5 ไมล์) ในชั้นโทรโพสเฟียร์โดยไม่มีออกซิเจนหรือเสื้อผ้าสำหรับป้องกันร่างกาย การวิจัยครั้งนั้นทำให้ค้นพบว่า อากาศจะเย็นลงที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล